learning recrod

วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2563

   บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2563  เวลา  08.00 - 12.30 น.

จัดทำโดย

นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์

งานที่ได้รับมอบหมาย

                งานที่ 1

                
                งานที่ 2






บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

  บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

วันที่ 16 ตุลาคม 2563  เวลา  08.00 - 12.30 น.

จัดทำโดย

นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์

เนื้อหา

               วันนี้อาจารย์มอบหมายงานให้ทำทั้งหมด 3 ชิ้นงาน

                          งานชิ้นที่ 1 ให้นักศึกษาทำของเล่นจากระดาษแข็งกติการคือให้ลอยอยู่บนฟ้าได้นาน อาจารย์มีอุปกรณ์มาให้คือ กระดาษแข็งคนละ 2 ชิ้น ตกแต่งให้สวยงาม


                        งานชิ้นที่ 2 ทำลูกยางที่ทำด้วยกระดาษ


                        งานชิ้นที่ 3 ให้ปั้นดินน้ำมันยังไงก็ได้ให้ลอยน้ำได้ เราจะต้องปั้นให้เป็นถ้วย เพื่อที่จะได้ให้อากาศเข้าไปทำให้ดินน้ำมันลอยขึ้น ถ้าเราปั้นเป็นวงกลม มันจะไม่ลอย แต่ถ้าเราทำแบนๆแล้วทำเป็นถ้วย มันจะลอยขึ้น


   คำศัพท์
1. Rubber ball    ลูกยาง
2. Paper    กระดาษ
3. Plasticine    ดินน้ำมัน
4. Floating    ลอยน้ำ
5. Air    อากาศ








บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8

 บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8

วันที่ 9 ตุลาคม 2563  เวลา  08.00 - 12.30 น.

จัดทำโดย

นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์

เนื้อหา

               วันนี้อาจารย์ดูให้ดุคลิปวิดีโอเกี่ยวกับน้ำและคุณสมบัติของน้ำ และการทดลองต่างๆ แล้วให้สรุปองค์ความรู้ใส่ลงในแผ่นชาร์ต

            ร่างกายมนุษย์มีน้ำ เป็นส่วนประกอบมากกว่า 70% หน้าที่ของน้ำในร่างกายช่วยย่อยอาหาร ละลายสารอาหาร ถ้าร่างกายของเราผ่านน้ำจะรู้สึกอ่อนเพรียร่างกายของเราจะขับเหงื่อออกมาในเวลาที่ได้รับความร้อน มนุษย์ขาดน้ำได้ 3วัน

               สิ่งมีชีวิตต่างๆในโลกล้วยมีน้ำเป็นองค์ประกอบ

การเปลี่ยนสถานะของน้ำ

               ของเเข็ง → ของเหลว = เกิดการหลอมเหลว

               ของเหลว → เเก๊ส = การระเหย

               เเก๊ส → ของเหลว = การระเหย

ฝนตกเกิดจาก

               เกิดจากเเหล่งน้ำที่ได้รับความร้อนจากพลังงานเเสงอาทิตย์ กลายเป็นไอน้ำขนาดใหญ่ที่ละเหยไปบนท้องฟ้า ทำให้ก้อนเมฆเกิดการควบเเน่นเเล้วกลายเป็นฝนตกลงมา

การระเหยของน้ำ

               การกลายเป็นไอที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะทำให้กลายเป็นไอ ผิวหน้ากว้างจะละเหยได้ดีกว่า

การขยายตัว

               น้ำ เมื่อได้รับความร้อน น้ำจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นและจะขยายตัว น้ำที่ผิวหน้าระเหยเป็นไอ ถ้าได้รับความร้อนเพิ่มขึ้นต่อไปอีก น้ำจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อย ๆจนเดือด

ความหนาแน่น

               คือ มวลของสารต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร

แรงตึงผิว

               คือ แรงต้านที่ผิวหน้า

แรงกด



            จากนั้นอาจารย์ให้ออกเเบบของเล่นตามมุมเกี่ยวกับน้ำ กลุ่มของดิฉันได้ออกเเบบ น้ำพุโดยไม่ใช้พลังงาน


คำศัพท์


1. Solid    ของเเข็ง  

2. Liquid     ของเหลว  

3. Gas     เเก๊ส  

4. Heat     ความร้อน

5. Vapor     ไอน้ำ



วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่7

   บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7

วันที่ 7 ตุลาคม 2563  เวลา  08.00 - 12.30 น.

จัดทำโดย

นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์

เนื้อหา

        วันนี้อาจารย์ได้มอบหมายให้ทำงาน 3 ชิ้น คือ

               งานที่ 1 ให้วาดเกี่ยวกับ เเหล่งน้ำที่มีชื่อเสียง โดยจับกลุ่ม 5 คน เเละ เลือกมา 1 สถานที่กลุ่มฉันเลือกวาดเป็น เเม่น้ำเเคว อยากลองให้เพื่อนๆสังเกตเเละทายว่าสิ่งใดบ่งบอกว่า คือ เกาะพีพี


               งานที่ 2 ให้ออกเเบบสไลเดอร์ ที่สามารถกลิ้ง ลูกบอลลงมาได้ช้าที่สุด โดยมีการสร้างสไลเดอร์จากหลอด ได้เเจกหลอดให้เเต่ละกลุ่มเท่าๆกัน  เมื่อสร้างเสร็จ ได้ทำสไลเดอร์ มากลิ้งลูกบอลเเข่งกัน โดยใช้เกณฑ์ นาน เเละ ช้า

               งานที่ 3 ให้ตัดกระดาษเป็นรูปดอกไม้ เเละพับไม่ต้องเเน่นมาก เเละนำไปลอยในน้ำ จะเห็นได้ว่า ดอกไม้คอยๆบานออก ที่บานออกได้นั้นก็เป็นเพราะว่า กระดาษนั้นมีรูพรุน เเละน้ำเข่าไปเเทรกตัวอยู่ จึงทำให้กระดาษอ่อน เเละค่อยๆบานในที่สุด

        ความรู้ที่ได้รับ

               เเหล่งน้ำเเต่ละที่มีความเเตกต่างกัน มีชื่อเรียกเเตกต่างกัน ทั้งที่สร้างขึ้น เเละ ธรรมชาติสร้างขึ้น ยังมีจุดเด่นเเละเอกลักษณ์ที่ต่างกันอีกด้วย เเหล่งน้ำมีประโยชน์หลายอย่าง เช่น ใช้ในการอุปโภค บริโภค ใช้ในอุตสาหกรรม ช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ใช้เป็นเส้นทาง คมนาคมขนส่ง

คำศัพท์

1. Water    น้ำ

2. River    แม่น้ำ

3. Slider    สไลเดอร์

4. Flower    ดอกไม้

5. Electric power    พลังงานไฟฟ้า 



วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

 

  บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6

วันที่ 18 กันยายน 2563  เวลา  08.00 - 12.30 น.

จัดทำโดย

นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์

               วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาจับคู่กันประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์จากวัสดุเหลือใช้รอบตัวของเล่นวิทยาศาสตร์ชื่อ หลอดน้ำบ้าพลัง

อุปกรณ์

               1.กระดาษสีตามใจชอบ

               2.หลอดน้ำ

               3.กรรไกร

               4.กาว หรือ เทปใส

               5.ปากกาสีเมจิกต่างๆ ใช้ตกเเต่ง   

วิธีการทำ

               1.เตรียมกระดาษขนาด A4 เเบบเเข็ง 1เเผ่น นำมาตัดทำเป็นกรวย

               2.เจาะรูที่ก้นกรวยเเล้วนำหลอดเสียบเข้าไปในรูจากนั้นติดเทปใส

               3.นำกรวยมาตกเเต่งตามใจชอบ

วิธีการเล่น

               นำเศษกระดาษมาปั้นเป็นก้อนกลมๆเเล้วนำใส่กรวยจากนั้นก็นำปลายหลอดมาไว้ที่ปาก เเล้วเป่าก้อนเศษกระดาษก็จะพุ่งออกมา

คำศัพท์

1. Waste material    วัสดุเหลือใช้

2. Straw    หลอดดูดน้ำ

3.  Scissors    กรรไกร

4. Glue    กาว

5.Decorate    ตกแต่ง

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

 

  บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5

วันที่ 18 กันยายน 2563  เวลา  08.00 - 12.30 น.

จัดทำโดย

นาวสาว กังสดาล   สังวรสินธุ์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผลอย่างหาความรู้สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็กควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว

Scientific process skills are skills that encourage early childhood to think, reason, learn, and solve problems according to the child's age.

1.ความหมายทักษะการสังเกต

ทักษะการสังเกต หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกันได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้นและผิวกายเข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของสิ่งนั้น

               1.การสังเกตรูปร่างลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป

               2.การสังเกตควบคู่กับการวัดเพื่อทราบปริมาณ

               3.การสังเกตเพื่อรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง

2.ความหมายทักษะการจำแนกประเภท

               ทักษะการจำแนกประเภท หมายถึงความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์

               1.ความเหมือน (Similarities)

               2.ความแตกต่าง (Differences)

               3.ความสัมพันธ์ร่วม (Interrelationships)

3.ความหมายทักษะการวัด

               ทักษะการวัด หมายถึง การใช้เครื่องมือต่างๆวัดหาปริมาณของสิ่งที่ต้องการทราบได้อย่างถูกต้องโดยมีหน่วยการวัดกำกับ

4.ความหมายทักษะการสื่อความหมาย

               ทักษะการสื่อความหมาย หมายถึง การพูด การเขียน รูปภาพ และภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า ความสามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน

               1.บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ 2.บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้ 3.บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จัดการทำ

                4.จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ

                5.ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล

               ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล หมายถึง การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์

               1.ลงข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ

               2.ลงข้อสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ

               3.การสังเกตเพื่อรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง

6.ความหมายทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา

               ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา หมายถึง การรู้จักเรียนรู้ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติการเขียนภาพ 2 มิติแทนรูป 3 มิติการบอกทิศทางการบอกเงาที่เกิดจากภาพ 3 มิติการเห็นและเข้าใจภาพที่เกิดบนกระจกเงาการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลาสำหรับเด็กปฐมวัย

               1.ชี้บ่งภาพ 2 มิติและ 3 มิติ

               2.บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ

               3.บอกตำแหน่งหรือทิศทางของวัตถุ 4.ตำแหน่งซ้ายหรือขวาของภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้ากระจกเงา

7.ความหมายทักษะการคำนวณ

               ทักษะการคํานวณ หมายถึง ความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุการบวก ลบ คูณ หาร การนับจำนวนของวัตถุการนำจำนวนตัวเลขหากำหนดบอกลักษณะต่างๆเช่นความกล้าความกว้างความยาวความสูงพื้นที่ปริมาณน้ำหนัก

               1.การนับจำนวนของวัตถุ

               2.การบวก ลบ คูณ หาร

               3.การนับจำนวนตัวเลขมากำหนดหรือบอกลักษณะต่างๆของวัตถุ

7.พัฒนาการ คือ ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5

8.ลงมือปฏิบัติ 

               1.ได้ความรุ้ ส่งไปที่สมอง >ซึบซับ>รับรู้>การเรียนรู้

               2.ประสบการณ์

               3.เจตคติ ทัศนคติ คุณธรรม

9.สมองกับวิทยาศาสตร์

               1.ตีความข้อมูลที่ได้รับรู้

               2.หาเหตุผลเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อสืบค้น

               3.ประเมินคุณค่าของสิ่งต่างๆเพื่อการตัดสินใจ

               4.จำเเนกองค์ประกอบเพื่อให้เห็นภาพรวมของเรื่องนั้น

10.คุณสมบัติบุคคลที่เอื้อต่อทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์

               1.ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์

               2.ช่างสังเกต สังสงสัย

               3.ความสามารถในการลความเห็น

               4.ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล

11.ทำไมต้องสอนวิทยาศาสตร์

               -มาตรฐานการเรียนรู้

               -ความจำเป็นที่อยู่สิ่งรอบตัว

                -หลักสูตร 2560

คำศัพท์

1. Learning standards    มาตรฐานการเรียนรู้

2. Virtue    คุณธรรม

3.Calculation    การคำนวณ

4.Syllabus    หลักสูตร

5.Dealing    ความสัมพันธ์